ให้นักศึกษาเขียนระบบการสอนวิชาใดก็ได้ในสาขาวิชาสังคม 1 ระบบ ตามหลัก IPO
ในแต่ละองค์ประกอบ ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดในแต่ละองค์ประกอบนั้นๆ
มาด้วย
ยกตัวอย่างระบบการสอนของวิชาประวัติศาสตร์ไทย
I = Input (รับข้อมูลเข้า) การสอนวิชาประวัติศาสตร์ แน่นอนที่สุดผู้สอนก็ต้องเตรียมข้อมูลในการสอนให้กับผู้เรียน กล่าวคือเตรียมเนื้อหาข้อมูลของวิชาประวัติศาสตร์ไทย หลังจากเตรียมเนื้อหาแล้ว ถ้าขาดสถานที่ทำการเรียนการสอนแล้วคงจะไม่สะดวกในหลายๆเรื่อง อีกสิ่งที่ต้องเตรียมคือสถานที่มนการเรียนการสอน ในสถานที่เรียนก็ต้องมี ส่วนประกอบย่อยๆ เช่น โต๊ะเรียน เก้าอี้เรียน กระดานดำ กระดานบอร์ด เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือจะเป็น เครื่องฉายภาพ ก็ตาม สิ่งเหล่านี้ที่เอยมาล้วนจำเป็นต่อการเรียนการสอน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น Input การรับข้อมูลเข้า ทั้งนั้น
I = Input (รับข้อมูลเข้า) การสอนวิชาประวัติศาสตร์ แน่นอนที่สุดผู้สอนก็ต้องเตรียมข้อมูลในการสอนให้กับผู้เรียน กล่าวคือเตรียมเนื้อหาข้อมูลของวิชาประวัติศาสตร์ไทย หลังจากเตรียมเนื้อหาแล้ว ถ้าขาดสถานที่ทำการเรียนการสอนแล้วคงจะไม่สะดวกในหลายๆเรื่อง อีกสิ่งที่ต้องเตรียมคือสถานที่มนการเรียนการสอน ในสถานที่เรียนก็ต้องมี ส่วนประกอบย่อยๆ เช่น โต๊ะเรียน เก้าอี้เรียน กระดานดำ กระดานบอร์ด เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือจะเป็น เครื่องฉายภาพ ก็ตาม สิ่งเหล่านี้ที่เอยมาล้วนจำเป็นต่อการเรียนการสอน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น Input การรับข้อมูลเข้า ทั้งนั้น
P = Process (ประมวลผลข้อมูล) การเรียนที่มีคุณภาพ
จะเกิดขึ้นได้ถ้าผู้เรียนมีความเข้าใจ หมายความว่าผู้สอนต้องมีกลวิธี
หรือเทคนิคในการสอน
และยิ่งเป็นวิชาที่ต้องใช้ความเข้าใจและความจำมากอย่างวิชาประวัติศาสตร์ไทยแล้ว
ผู้สอนต้องมีความพยายามอย่างมากเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ และจำได้ สรุปที่กล่าวมา
เนื้อหาในการสอน และเทคนิคในการสอน เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก
O = Output (แสดงผลลัพธ์) หลังจากที่ มีอุปกรณ์การเรียน มีที่เรียน
มีเนื้อหาที่มีคุณภาพ มีผู้สอนที่สอนเข้าใจแล้ว แน่นอนที่สุดว่าผลลัพธ์ออกมาย่อมดี
แต่จะดีหรือไม่ดีก็ขึ้นอยู่กับทั้งสองปัจจัยข้างต้น ถ้าปัจจัยข้างต้นดีแล้ว
ผลลัพธ์ก็จะได้ผู้เรียนที่มีความรู้ความสามารถ ผู้เรียนคนนั้นอาจจะได้ เกรด A
ก็เป็นได้
แต่ถ้าปัจจัยข้างต้นไม่ดี หรือไม่พร้อมแล้ว ผลลัพธ์ก็จะได้ผู้เรียนที่รู้บ้าง
ไม่รู้บ้าง ผู้เรียนคนนั้นอาจจะได้ เกรด C, D ก็เป็นได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น